:: Phra Rod Amulet 玛哈弯   Wat Mahawan LamPhun Pravince 拍洛佛像 ::    โดย พร  บางระจัน  

 

TRAVEL TOOLS

 

id7500003000070


 


 

其中拍洛 (Phra Rod)造型佛牌, 在泰國北部的喃奔府 (Lamphun)的 Wat Mahawan 其中拍洛 (Phra Rod)造型佛牌, 在泰國北部的喃奔府 (Lamphun)的 Wat Mahawan

Phra Rod Lamphun Thailand พระรอดพิมพ์เล็ก กรุวัดมหาวัน ลําพูน

Phra Rod, Wat Mahawan

product: 000012

price :10,000,000.00 บ.Thai baht    free shipping world wide

whats app:0933361995

其中拍洛 (Phra Rod)造型佛牌,
在泰國北部的喃奔府 (Lamphun)的 Wat Mahawan被發現.
據考證制作於佛曆12世紀至16世紀,
離至今已有1300年歷史,
是五古佛中, 歷史最悠久的佛牌。

傳說中拍洛佛可以幫助佩帶者擋掉一切不好的事物,
因此有離難佛之稱,可助佩帶者的運氣轉惡為佳,
配戴者自然會好運不絕。
帕羅德,瑪哈灣寺
帕羅德(Phra Rod)是泰國最古老的護身符,位於泰國北部的南奔府Wat Mahawan。由Haripoonchai時期(12世紀)中葉的達瓦拉瓦迪和斯里·維猜之間的混合佛教風格的粘土和其他神聖材料製成。 1223年(公元680年)可以追溯到1300多年。
如今,在Haripoonchai市或Lampoon的許多備忘錄中,提到了製作Phra Rod的內容,其中提到這座城市完全是由一群隱士(Sudheva Lersi和Sukatakata Lersi)完全靠魔術的力量發現的。
一旦建造了這座城市,所有的隱士都必須考慮一個適合該城市的統治者。最終,他們得出結論,拉威國王(洛普里市)的女兒查瑪·德維公主是最合適的人。因此,他們邀請了拉瓦普拉的查瑪·德維公主(Charma Dhevi)擔任Haripoonchai市的女王,因此,她成為了這座古城的首位統治者。
女王(Phra Nang Chama Dhewi)統治著泰國北部的Haripoonchai市,為保護土地,他建造了4座好運的寺廟。在公元前1223年,發現Haripoonchai市時,她邀請了4位偉大的隱士參加儀式。這四個隱士各自創建了“ Phra Sukaputtapatima”,並將其保存在位於Haripoonchai市北,南,西和東的4個寺廟中,以擴大佛陀的宗教信仰。 “ Phuka Sukaputtapatima”由5個護身符組成:Phra Perm,Phra Bang,Phra Khong,Phra Liang和Phra Rod。

皇后帕南·查瑪·德維發現了位於城鎮四個角落的四個寺廟:
1.東邊的Wat Donkaew。在B.E. 2484-2485中,人們發現了Phra Perm,Phra Bang,Phra Khong,Phra Liang等。除Phra Rod之外,所有護身符均被發現。

2.北端的帕通寺,後稱帕通寺

3.在西邊的瑪哈灣寺(Wat Mahawan),找到了帕拉(Phra Rod)護身符。

4.位於南側的普拉託基寺(Wat Pratoolee)被用作戰爭時期逃脫敵人的途徑,因為“ Phratoolee”是逃生的大門。

這四座寺廟都擁有隆波恩省的所有護身符,並在後來被發現。這四個隱士在唐卡寺(Wat Donkaew),玉佛寺(Wat PhraKhong),瑪哈萬寺(Wat Mahawan),普拉托里寺(Wat Pratoolee)保留了護身符。這些護身符是Haripoonchai的美麗藝術。
“ Phra Rod”是隱士的名字“ Narata Lersi”,後來又改為“ NaRod”。人們在瑪哈灣寺發現護身符後,便開始稱呼“帕羅德”。

傳說說,Sudheva Lersi和Sukatakata Lersi在儀式上與108位隱士會面,他們通過從4個不同的土地,108種藥草和鮮花中引進神聖的粘土來創造Haripoonchai的護身符。將所有神聖的物質混合併壓入模具中,然後由108個隱士高呼咒語。

有5個Pim(模具型)Pim Yai,Pim Klang,Pim Lek,Pim Tuean和Pim Tor。帕羅德(Phra Rod)是本傑帕基(Benjapakee)地區最著名的最古老護身符之一。護身符由Haripoonchai的工匠以獨特的藝術風格製成,具有獨特的美感。


帕拉桿創作的原因
帕拉羅德(Phra Rod)創作的目的是成為國王的傳統以及宗教復興和加強繁榮。但是,將護身符交給軍隊是精神上的克制,因為在過去的日子裡,這個國家總是被敵人入侵。
            帕桿的發現
帕羅德(Phra Rod)最早是在拉瑪五世(King Rama V)時期第一次被發現的,但當時一位名叫“塔(Tha)”的和尚的備忘錄,當時是Wat Kong Lersi的首領,而從帕特那(Wat Phrathat)的和尚(Boontham)的和尚中提到, 2435(1892)瑪哈旺寺(Wat Mahawan)的佛塔(Chedi)被毀,一部分塌陷。 Chedi被重建,因此在裡面發現了護身符。這些護身符中的一些又被重新裝回了Chedi。
在2451年(1908年),Chedi Wat Mahawan的基地被毀,發現了護身符,並在2435年(1892年)重新裝滿了護身符。所有這些護身符都帶出來了。這些護身符被大量發現,並被認為是從古老的Chedi(直到現在成功)的護身符。
也是用Phra Rod護身符新製成的,以代替Chedi的舊時期護身符,這是Khruba Krongkaew所製造的,與最初發現的護身符不同。
直到2498年(1955年),人們才在寺廟區域和牧師的屍體下挖出了護身符。這些發現被認為是當今可用的新一批護身符。然後在2506年(1963年),在教堂的翻新工程中,最後一次發現帕拉佛牌護身符約300件。人們經常在廟宇地區挖掘發現護身符,但很少見。如今,禁止挖掘。
Phra Rod由烤黏土製成,由於用於烘烤護身符(從低到高)的溫度差異(從白色到黃色,橙色,磚紅色,綠色,棕色和黑色)而出現幾種顏色。帕羅德(Phra Rod)在佛教藝術中很美,具有很高的價值,並具有很好的抵禦傷害的能力。泰國人認為這種特殊的護身符是成功逃脫,保護和免受傷害的佛陀
Phra Rod, Wat Mahawan
Phra Rod is the oldest amulet in Thailand, found at Wat Mahawan, Lampoon Province in Northern of Thailand. Made from clay and other sacred materials with mixed Buddhism style between Davarawadi and Sri Vichai in the middle age of Haripoonchai period (12nd century) B.E. 1223 (A.D. 680) date back over 1,300 years.  
There are many memorandums of Haripoonchai City or Lampoon nowadays about the making of Phra Rod mentioned that the city was completely found by a group of hermits (Sudheva Lersi and Sukatakata Lersi) purely by the power of magic.
Once constructed the city, all hermits had to consider a suitable ruler for the city. Eventually, they concluded that Princess Chama Dhewi, the daughter of the King of Lawoh (Lopburi city) was the most suitable person to take over the throne. Therefore, they invited Princess Charma Dhevi from Lawa Pura to be the Queen of Haripoonchai City and thus, she became first ruler of the ancient city.
Phra Nang Chama Dhewi, the Queen who ruled the city state of Haripoonchai in the Northern of Thailand, had built 4 temples of good fortune to protect the land. In B.E. 1223 when Haripoonchai city was found, she invited 4 great hermits into the ceremony. The 4 hermits had created “Phra Sukaputtapatima” by each own and keep safe in 4 temples where located in North, South, West and East of Haripoonchai city for the purpose of expanding Buddha religion. “Phra Sukaputtapatima” comprises of 5 amulets: Phra Perm, Phra Bang, Phra Khong, Phra Liang and Phra Rod.
 
The four temples where located at 4 corners of town were found by Queen Phra Nang Chama Dhewi are:
1.     Wat Donkaew in East side. In B.E.2484-2485 people found Phra Perm, Phra Bang, Phra Khong, Phra Liang, etc. All amulets were found in exception of Phra Rod.
 
2.     Wat PhraKhong in North side, later called Wat PhraKhongLersi
 
3.     Wat Mahawan in West side, Phra Rod amulets were found here.
 
4.    Wat Pratoolee in South side which was used as the route to escape enemies in war time as “Phratoolee” mean door for escape.
 
These 4 temples have all of Lumpoon province amulets and have been found at later time. The 4 hermits had kept their amulets in Wat Donkaew, Wat PhraKhong, Wat Mahawan, Wat Pratoolee. These amulets are beautiful arts of Haripoonchai.
“Phra Rod” was from hermit’s name “Narata Lersi” and changed to “NaRod” in later time. Once people found the amulets at Wat Mahawan, they started to call “Phra Rod”.
 
Legend said that Sudheva Lersi and Sukatakata Lersi had met with 108 hermits in the ceremony to create Haripoonchai’s amulets by bringing sacred clay from 4 different land, 108 herbs and flowers. All sacred material were mixed and pressed into molds, then chanted with spell by 108 hermits.
 
There are 5 pim (mold type) Pim Yai, Pim Klang, Pim Lek, Pim Tuean and Pim Tor. Phra Rod is one of most famous oldest amulets in the set of Benjapakee. Amulets were made by the craftman of Haripoonchai in the own arts style bearing particularly unique beauty.
 
 
           Reason for Phra Rod Creation
The purpose of Phra Rod creation was to be tradition of the king and religious renewal and strengthening prosperity. However, giving the amulets to the military was to be mental restraint tool because in those past days the country was always invaded by the enemies.
            Discovering of Phra Rod
Phra Rod was found in the first time in earlier period of King Rama V but the memorandum of a monk named “Tha”, the head of Wat Kong Lersi in that time and from the monk named “Boontham” of Wat Phrathat Haripoonchai mentioned that in 2435 (1892) Chedi of Wat Mahawan was ruined and some part collapsed.  The Chedi was rebuilt so the amulets were found inside. Some of these amulets were again refilled back into the Chedi.
In 2451 (1908), the base of Chedi Wat Mahawan was ruined and found amulets which were refilled in 2435 (1892). All of these amulets were brought out. These amulets were found in large quantity and recognized to be amulet from old Chedi which succeed till now.
Also newly made of Phra Rod amulets to replace the old period amulets in Chedi, expected that made by Khruba Krongkaew which different period from the amulets in first found.
Until in 2498 (1955), the amulets were found again by digging in the temple area and under the priest’s bode. These founds were recognized amulets from new lot which available nowadays. Then in 2506 (1963), in renovation of the chapel is the last time of finding Phra Rod amulets about 300 pieces. Eversince people oftenly dug to find amulet in the temple area but rare. Nowadays, digging was forbidden.
Phra Rod made from baked clay which seen in several colors due to difference of temperature used to bake the amulets (low to high) white, yellow, orange brick, red, green, brown and black. Phra Rod is beautiful in Buddhism arts, high value and good in warding-off harms. Thai people regard this particular amulet as Buddha of success in escaping, protection and being safe from all dangers and disasters or misfortunes.
Notification points of Phra Rod Wat Mahawan in term of content texture
·         Phra Rod is very old with the age over 1,300 years, made from baked clay which were buried in the ground for a long time until become solid as a rock.Surface skin is wrinkle and dry-out which looks like the oldie’s skin. Content texture is fine-grained and smooth since amulet made from filter clay. Neither sand nor gravel is appeared. Lines pattern on image body looks sharp, clear and deep. From content analysis, Phra Rod made from sacred ground stone powders, other sacred powders, 108 herbs and flowers, filter clay as cement substance. Pressing into the mould, to be dried then, baked with highest temperature until stone powder was melted and welded in the same mixture with filter clay. This methodology made amulets being tough and durable in thousand years. Faked amulet is made from Rasin or emulsion pressed into 2 layers for inside and outside, baked in mild temperature then, chemically decorated or buried in the ground in order to make dust or soil covering on the surface which imitates the old stain. Anyway, dead spots of faked amulet for self-checking e.g., surface skin looks tight and oily, soil stain is unsystematically scattered throughout image body and could be easily removed out by finger or end of nail or washing, then reveal the real tight surface.
 
Moulds of Phra Rod, Wat Mahawan
Phra Rod amulets were classified into 5 moulds:- Pim Yai (big), Pim Klang (middle), Pim Lek(small), Pim Tor(short) and Pim Tuane (shallow).
 
 1. Phra Rod Wat Mahanwan: Pim Yai (Big mould)
 
Notification points of Phra Rod Pim Yai (Big mould) in term of moulds
1.     Head stem and Bodhi leaves: Head stem is short. When looking at Bodhi stem at the top above head, the bottom

 of leave line is slightly deviated to right hand side of image body, not vertically straight line.

 
2.     Right hand side of image body which is not clearly seen in details. Fingers are slightly compressed, the thumb

 has clearly marking in depth nook.  

 
3.     Seat and inserted line at base: Sharp line is appeared between lap and going parallel with edge of first tier.

 Another line, in area of gap between first and second tier, it appeared inserted small sharp line going along with base

 line (second tier) from right to left.

 
4.     Left ear and broken line: Left ear is clearer seen than right ear. At end of left ear, appeared line like a hook

 crashing to left cheek. For beside of left ear at top, it appeared broken sharp line dragging down in diagonal to group

 of Bodhi leaves in below. This is unique specially appeared for Pim Yai (big mould)

 
5.     Waterfall line:  At left side of image body, between under left hand, under right foot and under left knee which

 appeared 3 vertically waterfall lines in three parts.  (from under left hand meet to the second tier)

ยี่ห้อ: พระรอดพิมพ์เล็ก ลำพูน
รุ่น: พระรอด ลำพูน

รหัสสินค้า: 000012

ราคา:10,000,000.00 บ.

รายละเอียด: พระรอดพิมพ์เล็กลำพูน สุดยอดพระเนื้อดินอีกองค์.

เจาะลึกเรื่องพิมพ์พระรอด

       พระรอด เป็นนามที่ผู้สันทัดรุ่นก่อนเชื่อกันว่า เรียกตามนามพระฤาษีผู้สร้างคือ พระฤาษี “นารทะ” หรือพระฤาษี “นารอด” พระรอดคงเรียกตามนามพุทธรูป ศิลา องค์ที่ประดิษฐ์อยู่ในวิหาร วัดมหาวันที่ชาวบ้านเรียกว่า “แม่พระรอด” หรือ พระ “รอดหลวง” ในตำนานว่า คือ พระพุทธ สิขีปฏิมา ที่พระนามจามเทวี อันเชิญมาจากกรุงละโว้ พระนามนี้เรียกกันมาก่อนที่จะพบพระรอดพระพุทธรูปองค์นี้ ที่พื้นผนังมีกลุ่มโพธิ์ใบคล้ายรัศมี ปรากฏด้านข้างทั้งสองด้าน
     พระรอด มีการขุดพบครั้งแรกราวต้นรัชกาลที่ 5 แต่ที่สืบทราบมาได้จากการบันทึกไว้ ของท่านอธิการทา เจ้าอาวาสวัดพระคงฤาษีในขณะนั้น และอาจารย์บุญธรรม วัดพระมหาธาตุหริภุญไชย ว่าในปี พ.ศ. 2435 พระเจดีย์วัดมหาวันได้ชำรุดและพังทลายลงบางส่วน ในสมัยเจ้าหลวงเหมพินทุไพจิตร ทางวัดได้มีการปฏิสังขรณ์องค์พระเจดีย์ขึ้นใหม่ ในครั้งนั้นได้พบพระรอดภายในกรุเจดีย์มากที่สุด พระรอดมีลักษณะของผนังใบโพธิ์คล้ายพระศิลา ในพระวิหารวัดมหาวัน ผู้พบพระรอด ในครั้งนั้นคงเรียกตามนามพระรอดหลวง แต่นั้นมาก็ได้นำพระรอดส่วนหนึ่งที่พบในครั้งนี้ นำเข้าบรรจุไว้ในองค์พระเจดีย์ตามเดิม อีกประมาณหนึ่งบาตร
       พระรอด ขุดค้นพบในปี พ.ศ. 2451 ในครั้งนั้นฐานพระเจดีย์ใหญ่วัดมหาวันชำรุด ทางวัดได้รื้อออกเสียและปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ ได้พบพระรอดที่บรรจุไว้ใน พ.ศ. 2435 ได้นำออกมาทั้งหมด และนำออกแจกจ่ายแก่ข้าราชการและผู้ร่วมงานในขณะนั้น เป็นการพบพระรอดจำนวนมาก พระรอด กรุนี้ถือเป็นพระกรุเก่าและตกทอดมาจนบัดนี้ และทางวัดมหาวันได้จัดพิธีสร้างพระรอดรุ่นใหม่บรรจุไว้แทน เข้าใจว่าคงเป็นรุ่นพี่พระครูบากองแก้วเป็นผู้สร้างไว้เพราะมีบางส่วนนำออกแจกให้ประชาชนในขณะนั้น เรียกว่า พระรอด ครูบากองแก้ว
       จากนั้นช่วงเวลาผ่านมาจนถึง ปี พ.ศ. 2498 ได้ขุดพบพระรอดด้านหน้าวัด และใต้ถุนกุฏิพระ ได้พบพระรอดจำนวนเกือบ 300 องค์ มีทุกพิมพ์ทรง กรุนี้ถือว่าเป็นกรุพระรอดกรุใหม่ ที่หมุนเวียนอยู่ในปัจจุบันนี้ถึงปี พ.ศ. 2506 ทางวัดมหาวันได้รื้อพื้นพระอุโบสถ เพื่อปฏิสังขรณ์ใหม่ ได้พบพระรอดครั้งสุดท้ายที่มีจำนวนมากถึง 300 องค์เศษ พระรอดรุ่นนี้มีผู้นำมาให้เช่า ในกรุงเทพจำนวนมาก พระรอดส่วนใหญ่จะคมชัด และงดงามมากเป็นพระรอดกรุใหม่รุ่นสอง หลังจากนั้นต่อมาก็มีผู้ขุดหาพระรอด ในบริเวณลานวัด แทบทุกซอกทุกมุมทั่วพื้นที่ในวัด นานๆ ถึงจะได้พบพระรอดขึ้นมาองค์หนึ่ง เป็นเวลาผ่านมาจนถึงปัจจุบัน จนกระทั่งทางวัด ได้ระงับการขุดพระรอด นอกจากพระรอดแล้ว วัดมหาวัน ยังขุดพบพระเครื่องสกุลลำพูน เกือบทุกพิมพ์ ที่พิเศษคือ ได้พบพระแผ่นดุนทองคำเงิน แบบเทริดขนนกมากที่สุดในลำพูนด้วย
         พระรอดได้ขุดค้นพบที่วัดมหาวันเพียงแห่งเดียวเท่านั้นเนื้อดินเผาละเอียดหนักนุ่มมาก องค์พระประทับนั่งขัดเพ็ชรปางมารวิชัยประกอบด้วยพื้นผนังใบโพธิ์ทั้งสองด้าน มีศิลปะโดยรวมแบบทวาราวดี – ศรีวิชัย เป็นรูปแบบเฉพาะของสกุลช่วงสมัยหริภุญไชย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 17 แบ่งลักษณะ แบบได้ 5 พิมพ์ทรง คือ พิมพ์ใหญ่ พิมพ์กลาง พิมพ์เล็ก พิมพ์ต้อ และพิมพ์ตื้นนั้น มีลักษณะจุดตำหนิโดยรวมที่เป็นสัญลักษณ์ปรากฏทุกพิมพ์ ในพิมพ์ใหญ่ กลาง เล็ก
เริ่มจากด้านบนของทั้งสามพิมพ์มีจุดโพธิ์ติ่ง ทั้งสามพิมพ์นี้มี 3 ใบ ปรากฏที่เหนือปลายเกศ และด้านข้างพระเศียร 2 ใบ กลุ่มใบโพธิ์แถวนอกจะใหญ่กว่าแถวใน และโพธิ์คู่ทั้ง 3 พิมพ์นี้มีระดับสูงเกือบเสมอกัน เส้นรอยพิมพ์แตกมีเฉพาะพิมพ์ใหญ่เท่านั้น มีรูปคล้ายตัวหนอนปรากฏเส้นข้างพระกรรณด้านซ้ายขององค์พระ เหนือเข่าด้านซ้ายขององค์พระมีเส้นน้ำตกเป็นเส้นนูนเล็กมาวาดจากใต้ข้อศอกพระรอดใต้ฐานชั้นบน เฉพาะพิมพ์ใหญ่มีฐาน 4 ชั้น พิมพ์กลาง เล็ก ต้อ ตื้น มีฐาน 3 ชั้น พิมพ์ใหญ่ พิมพ์กลาง พิมพ์ตื้นมีเนื้อดินยื่นจากใต้ฐานล่างที่สุดเรียกว่า ฐาน 2 ชั้น พิมพ์เล็ก พิมพ์ต้อไม่มี กลุ่มโพธิ์แถวนอกของทุกพิมพ์จะคล้าย ๆ กันเพราะทำมาจากช่างคนเดียวกัน
      นอกจากนั้นพิมพ์ต้อกับพิมพ์ตื้นกลับไม่ค่อยมีใบโพธิ์ในพิมพ์ตื้นมีพื้นผนังโพธิ์แถวใน ใบโพธิ์ติดชิดกับองค์พระแล้วลาดเอียงลงที่กลุ่มโพธิ์แถวนอก ตรงแสกหน้ามีรอยพิมพ์แตกเป็นจุดสังเกต ในพิมพ์ต้อไม่ปรากฏโพธิ์แถวใน พื้นผิวติดองค์พระสูงลาดเอียงลงมา ที่กลุ่มโพธิ์แถวนอกเฉพาะตรงปลายเส้น ชี้นูนสูงที่สุดเป็นจุดสำคัญ นอกจากนี้ประการสำคัญที่สุดของพระรอด ที่ของปลอมจะทำเลียนแบบได้ยากคือ การจำรูปแบบพิมพ์ทรง และความเก่าของเนื้อเฉพาะพิมพ์ใหญ่จะปรากฏพระโอษฐ์ (ปาก) เม้มจู๋คล้ายปากปลากัด มีรอยหยักพับที่ริมฝีปากบนชัดเจนมาก เป็นจุดลับที่ควรสังเกตไว้ และกลุ่มโพธิ์แถวนอกของพิมพ์ใหญ่ด้านซ้าย ขององค์พระ มีระดับลาดเอียงเห็นได้ชัดเจนมาก เป็นจุดสังเกตที่ของปลอมจะทำได้ยาก

พระรอด วัดมหาวัน ลำพูน ลักษณะ: พระเนื้อดิน เป็นพระพิมพ์ขนาดเล็ก ชื่อพระรอดนั้นมีข้อสันนิษฐาน 3 ทางได้แก่

1. ออกเสียงตามผู้ที่สร้างขึ้น คือ พระฤาษีนารอด ซึ่งออกเสียงตามภาษามอญ
2. ผู้ที่สักการะบูชา และนำติดตัวไปยังที่ต่าง ๆ สามารถรอดพ้นจากอันตรายเป็นอย่างดี จึงเรียกว่าพระรอด
3. เนื่องจากเป็นพระเครื่องที่มีขนาดเล็กกว่าพิมพ์อื่นๆ จึงได้ชื่อว่าพระลอด และเพี้ยนมาเป็นพระรอด

ลักษณะทั่วไปของพระรอด เป็นพระปางมารวิชัย มีฐานอยู่ใต้ที่นั่ง และมีผ้านิสีทนะ (ผ้านั่งปู) รองรับปูไว้บนฐานข้างหลังองค์พระมีลวดลายกระจัง ชาวพื้นเมืองเหนือเรียกกันว่า ใบโพธิ์ เพราะกระจังนั้นดูคล้ายๆใบโพธิ์มีกิ่งก้านไม่อยู่ในเรือนแก้ว พระพักตร์จะปรากฏพระเนตร (ตา) พระกรรณ (หู) ยาวลงมาเกือบจรดพระอังสะ (บ่าหรือไหล่) ทั้งสองข้าง ส่วนด้านหล้งนั้นไม่มีลวดลายอะไรนอกจากรอยนิ้วมือ เป็นเนื้อดินทั้งหมด บางองค์มีลักษณะนูนบ้างแบนบ้าง
สามารถแบ่งได้ 5 พิมพ์

1. พิมพ์ใหญ่
2. พิมพ์กลาง
3. พิมพ์เล็ก
4. พิมพ์ต้อ
5. พิมพ์ตื้น

 

จุดชี้ตำหนิตำหนิพระรอดพิมพ์ใหญ่(พิมพ์เครื่องราชฯ)

  1.  ฝักดาบ

  2. เส้นรัศมี

  3. เส้นบังคับพิมพ์

  4. โพธ์รูปคมขวาน

  5. ตุ้มหูมี /ชนิดเป็นขอเบ็ดและเห็นไม่ฃัด 

  6. เนื้อเกิน 

  7. กำไรปล้องแขน 

  8. เส้นแซมใต้ฐานเส้นเล็กๆใต่อาสน

  9. เส้นใต้ฐานเป้นเส้นตรง 

  10. เนื้อเกินออกมา 

  11. โพธิ์มีลักษณะเป็นเหลี่ยมเป็นแอ่งตรงกลาง

  12. จุดคล้ายไข่ปลา 

  13. เส้นรัศมี 

  14. ใบโพธิ์มีลักษณะเป็นรูปเหลี่ยม 

  15. แก้มมีรอยครูด 

  16. คล้ายรากปมถั่ว 

  17. ตุ้มหูมีสามตุ่มบางองค์ติดสองแล้แต่กรณี 

  18. เครื่องราชฯที่มีรุปช้างอยู่ภายใน

  19. เส้นน้ำตกใต้ศอก

  20. เส้นน้ำตกเป็นรูปตัว y คว่ำหัวลง

  21. เส้นน้ำตกมีลักษณะคล้ายเท้นกเกาะกิ่งไม้

นอกจากนี้ยังมีข้อปลีกย่อยซึ่งจะได้พูดเรื่องทางกายวิภาค( Anatomy )ของพระรอดโดยละเอียดแต่ละพิมพ์อีกที

  1. ตา

  2. จมูก

  3. พระเมาลี

  4. หู

  5. ตุ้มหู

  6. มือ

  7. พระเกศ

  8. ลำพระองค์

  9. พระเพลา

  10. เส้นน้ำตก

PHRAROD WAT MAHAWAN LAMPHUN |ADDRESS
236/2 MU 5 TAMBOLE YANGONG NOENG AMPHURE SARAPHI CHIANGMAI THAILAND
Tel: 66-061-7919125,66-093-3361995  whatapp:0933361995
http://www.phrarod.com/   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
พระรอดกรุวัดมหาวัน ลำพูน โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-061-7919125,66-093-3361995  whatapp:0933361995
http://www.phrarod.com/   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
Copyright © 2019 Phrarod wat mahawan lamphun province Website Terms of Use   |   Privacy Statement Find us on Youtube Facebook