:: Phra Rod Amulet 玛哈弯   Wat Mahawan LamPhun Pravince 拍洛佛像 ::    โดย พร  บางระจัน  

 

TRAVEL TOOLS

 

id7500003000070


 

 

其中拍洛 (Phra Rod)造型佛牌, 在泰國北部的喃奔府 (Lamphun)的 Wat Mahawan 其中拍洛 (Phra Rod)造型佛牌, 在泰國北部的喃奔府 (Lamphun)的 Wat Mahawan  

 

                                   Phra Rod Lamphun Thailand พระรอดลำพูน พิมพ์ใหญ่

Phra Rod Lamphun Thailand

product: 000608

price :10,000,000.00 บ.     free shipping world wide

whats app:0933361995

其中拍洛 (Phra Rod)造型佛牌,
在泰國北部的喃奔府 (Lamphun)的 Wat Mahawan被發現.
據考證制作於佛曆12世紀至16世紀,
離至今已有1300年歷史,
是五古佛中, 歷史最悠久的佛牌。

傳說中拍洛佛可以幫助佩帶者擋掉一切不好的事物,
因此有離難佛之稱,可助佩帶者的運氣轉惡為佳,
配戴者自然會好運不絕。

帕羅德,瑪哈灣寺
帕羅德(Phra Rod)是泰國最古老的護身符,位於泰國北部的南奔府Wat Mahawan。由Haripoonchai時期(12世紀)中葉的達瓦拉瓦迪和斯里·維猜之間的混合佛教風格的粘土和其他神聖材料製成。 1223年(公元680年)可以追溯到1300多年。
如今,在Haripoonchai市或Lampoon的許多備忘錄中,提到了製作Phra Rod的內容,其中提到這座城市完全是由一群隱士(Sudheva Lersi和Sukatakata Lersi)完全靠魔術的力量發現的。
一旦建造了這座城市,所有的隱士都必須考慮一個適合該城市的統治者。最終,他們得出結論,拉威國王(洛普里市)的女兒查瑪·德維公主是最合適的人。因此,他們邀請了拉瓦普拉的查瑪·德維公主(Charma Dhevi)擔任Haripoonchai市的女王,因此,她成為了這座古城的首位統治者。
女王(Phra Nang Chama Dhewi)統治著泰國北部的Haripoonchai市,為保護土地,他建造了4座好運的寺廟。在公元前1223年,發現Haripoonchai市時,她邀請了4位偉大的隱士參加儀式。這四個隱士各自創建了“ Phra Sukaputtapatima”,並將其保存在位於Haripoonchai市北,南,西和東的4個寺廟中,以擴大佛陀的宗教信仰。 “ Phuka Sukaputtapatima”由5個護身符組成:Phra Perm,Phra Bang,Phra Khong,Phra Liang和Phra Rod。

皇后帕南·查瑪·德維發現了位於城鎮四個角落的四個寺廟:
1.東邊的Wat Donkaew。在B.E. 2484-2485中,人們發現了Phra Perm,Phra Bang,Phra Khong,Phra Liang等。除Phra Rod之外,所有護身符均被發現。

2.北端的帕通寺,後稱帕通寺

3.在西邊的瑪哈灣寺(Wat Mahawan),找到了帕拉(Phra Rod)護身符。

4.位於南側的普拉託基寺(Wat Pratoolee)被用作戰爭時期逃脫敵人的途徑,因為“ Phratoolee”是逃生的大門。

這四座寺廟都擁有隆波恩省的所有護身符,並在後來被發現。這四個隱士在唐卡寺(Wat Donkaew),玉佛寺(Wat PhraKhong),瑪哈萬寺(Wat Mahawan),普拉托里寺(Wat Pratoolee)保留了護身符。這些護身符是Haripoonchai的美麗藝術。
“ Phra Rod”是隱士的名字“ Narata Lersi”,後來又改為“ NaRod”。人們在瑪哈灣寺發現護身符後,便開始稱呼“帕羅德”。

傳說說,Sudheva Lersi和Sukatakata Lersi在儀式上與108位隱士會面,他們通過從4個不同的土地,108種藥草和鮮花中引進神聖的粘土來創造Haripoonchai的護身符。將所有神聖的物質混合併壓入模具中,然後由108個隱士高呼咒語。

有5個Pim(模具型)Pim Yai,Pim Klang,Pim Lek,Pim Tuean和Pim Tor。帕羅德(Phra Rod)是本傑帕基(Benjapakee)地區最著名的最古老護身符之一。護身符由Haripoonchai的工匠以獨特的藝術風格製成,具有獨特的美感。


帕拉桿創作的原因
帕拉羅德(Phra Rod)創作的目的是成為國王的傳統以及宗教復興和加強繁榮。但是,將護身符交給軍隊是精神上的克制,因為在過去的日子裡,這個國家總是被敵人入侵。
            帕桿的發現
帕羅德(Phra Rod)最早是在拉瑪五世(King Rama V)時期第一次被發現的,但當時一位名叫“塔(Tha)”的和尚的備忘錄,當時是Wat Kong Lersi的首領,而從帕特那(Wat Phrathat)的和尚(Boontham)的和尚中提到, 2435(1892)瑪哈旺寺(Wat Mahawan)的佛塔(Chedi)被毀,一部分塌陷。 Chedi被重建,因此在裡面發現了護身符。這些護身符中的一些又被重新裝回了Chedi。
在2451年(1908年),Chedi Wat Mahawan的基地被毀,發現了護身符,並在2435年(1892年)重新裝滿了護身符。所有這些護身符都帶出來了。這些護身符被大量發現,並被認為是從古老的Chedi(直到現在成功)的護身符。
也是用Phra Rod護身符新製成的,以代替Chedi的舊時期護身符,這是Khruba Krongkaew所製造的,與最初發現的護身符不同。
直到2498年(1955年),人們才在寺廟區域和牧師的屍體下挖出了護身符。這些發現被認為是當今可用的新一批護身符。然後在2506年(1963年),在教堂的翻新工程中,最後一次發現帕拉佛牌護身符約300件。人們經常在廟宇地區挖掘發現護身符,但很少見。如今,禁止挖掘。
Phra Rod由烤黏土製成,由於用於烘烤護身符(從低到高)的溫度差異(從白色到黃色,橙色,磚紅色,綠色,棕色和黑色)而出現幾種顏色。帕羅德(Phra Rod)在佛教藝術中很美,具有很高的價值,並具有很好的抵禦傷害的能力。泰國人認為這種特殊的護身符是成功逃脫,保護和免受傷害的佛陀

Phra Rod, Wat Mahawan
Phra Rod is the oldest amulet in Thailand, found at Wat Mahawan, Lampoon Province in Northern of Thailand. Made from clay and other sacred materials with mixed Buddhism style between Davarawadi and Sri Vichai in the middle age of Haripoonchai period (12nd century) B.E. 1223 (A.D. 680) date back over 1,300 years.  
There are many memorandums of Haripoonchai City or Lampoon nowadays about the making of Phra Rod mentioned that the city was completely found by a group of hermits (Sudheva Lersi and Sukatakata Lersi) purely by the power of magic.
Once constructed the city, all hermits had to consider a suitable ruler for the city. Eventually, they concluded that Princess Chama Dhewi, the daughter of the King of Lawoh (Lopburi city) was the most suitable person to take over the throne. Therefore, they invited Princess Charma Dhevi from Lawa Pura to be the Queen of Haripoonchai City and thus, she became first ruler of the ancient city.
Phra Nang Chama Dhewi, the Queen who ruled the city state of Haripoonchai in the Northern of Thailand, had built 4 temples of good fortune to protect the land. In B.E. 1223 when Haripoonchai city was found, she invited 4 great hermits into the ceremony. The 4 hermits had created “Phra Sukaputtapatima” by each own and keep safe in 4 temples where located in North, South, West and East of Haripoonchai city for the purpose of expanding Buddha religion. “Phra Sukaputtapatima” comprises of 5 amulets: Phra Perm, Phra Bang, Phra Khong, Phra Liang and Phra Rod.
 
The four temples where located at 4 corners of town were found by Queen Phra Nang Chama Dhewi are:
1.     Wat Donkaew in East side. In B.E.2484-2485 people found Phra Perm, Phra Bang, Phra Khong, Phra Liang, etc. All amulets were found in exception of Phra Rod.
 
2.     Wat PhraKhong in North side, later called Wat PhraKhongLersi
 
3.     Wat Mahawan in West side, Phra Rod amulets were found here.
 
4.    Wat Pratoolee in South side which was used as the route to escape enemies in war time as “Phratoolee” mean door for escape.
 
These 4 temples have all of Lumpoon province amulets and have been found at later time. The 4 hermits had kept their amulets in Wat Donkaew, Wat PhraKhong, Wat Mahawan, Wat Pratoolee. These amulets are beautiful arts of Haripoonchai.
“Phra Rod” was from hermit’s name “Narata Lersi” and changed to “NaRod” in later time. Once people found the amulets at Wat Mahawan, they started to call “Phra Rod”.
 
Legend said that Sudheva Lersi and Sukatakata Lersi had met with 108 hermits in the ceremony to create Haripoonchai’s amulets by bringing sacred clay from 4 different land, 108 herbs and flowers. All sacred material were mixed and pressed into molds, then chanted with spell by 108 hermits.
 
There are 5 pim (mold type) Pim Yai, Pim Klang, Pim Lek, Pim Tuean and Pim Tor. Phra Rod is one of most famous oldest amulets in the set of Benjapakee. Amulets were made by the craftman of Haripoonchai in the own arts style bearing particularly unique beauty.
 
 
           Reason for Phra Rod Creation
The purpose of Phra Rod creation was to be tradition of the king and religious renewal and strengthening prosperity. However, giving the amulets to the military was to be mental restraint tool because in those past days the country was always invaded by the enemies.
 
            Discovering of Phra Rod
Phra Rod was found in the first time in earlier period of King Rama V but the memorandum of a monk named “Tha”, the head of Wat Kong Lersi in that time and from the monk named “Boontham” of Wat Phrathat Haripoonchai mentioned that in 2435 (1892) Chedi of Wat Mahawan was ruined and some part collapsed.  The Chedi was rebuilt so the amulets were found inside. Some of these amulets were again refilled back into the Chedi.
In 2451 (1908), the base of Chedi Wat Mahawan was ruined and found amulets which were refilled in 2435 (1892). All of these amulets were brought out. These amulets were found in large quantity and recognized to be amulet from old Chedi which succeed till now.
Also newly made of Phra Rod amulets to replace the old period amulets in Chedi, expected that made by Khruba Krongkaew which different period from the amulets in first found.
Until in 2498 (1955), the amulets were found again by digging in the temple area and under the priest’s bode. These founds were recognized amulets from new lot which available nowadays. Then in 2506 (1963), in renovation of the chapel is the last time of finding Phra Rod amulets about 300 pieces. Eversince people oftenly dug to find amulet in the temple area but rare. Nowadays, digging was forbidden.
Phra Rod made from baked clay which seen in several colors due to difference of temperature used to bake the amulets (low to high) white, yellow, orange brick, red, green, brown and black. Phra Rod is beautiful in Buddhism arts, high value and good in warding-off harms. Thai people regard this particular amulet as Buddha of success in escaping, protection and being safe from all dangers and disasters or misfortunes.
Notification points of Phra Rod Wat Mahawan in term of content texture
·         Phra Rod is very old with the age over 1,300 years, made from baked clay which were buried in the ground for a long time until become solid as a rock.
 
·         Surface skin is wrinkle and dry-out which looks like the oldie’s skin. Content texture is fine-grained and smooth since amulet made from filter clay. Neither sand nor gravel is appeared.
 
·         Lines pattern on image body looks sharp, clear and deep.
 
·         From content analysis, Phra Rod made from sacred ground stone powders, other sacred powders, 108 herbs and flowers, filter clay as cement substance. Pressing into the mould, to be dried then, baked with highest temperature until stone powder was melted and welded in the same mixture with filter clay. This methodology made amulets being tough and durable in thousand years.
 
·         Faked amulet is made from Rasin or emulsion pressed into 2 layers for inside and outside, baked in mild temperature then, chemically decorated or buried in the ground in order to make dust or soil covering on the surface which imitates the old stain. Anyway, dead spots of faked amulet for self-checking e.g., surface skin looks tight and oily, soil stain is unsystematically scattered throughout image body and could be easily removed out by finger or end of nail or washing, then reveal the real tight surface.
 
Moulds of Phra Rod, Wat Mahawan
Phra Rod amulets were classified into 5 moulds:- Pim Yai (big), Pim Klang (middle), Pim Lek(small), Pim Tor(short) and Pim Tuane (shallow).
 
 1. Phra Rod Wat Mahanwan: Pim Yai (Big mould)
 

ยี่ห้อ: พระรอดลำพูน พิมพ์ใหญ่
รุ่น: พระรอดลำพูน พิมพ์ใหญ่

รหัสสินค้า: 000608

price :10,000,000.00 บ.  

รายละเอียด: พระรอดลำพูน พิมพ์ใหญ่ กรุเก่า สุดยอด...ของประเทศไทย


เพื่อศึกษาวิเคราะห์เป็นความรู้ตามหลักวิชาการอีกแง่มุมหนึ่ง

ถ้าเราอยากจะรู้ว่า พระพิมพ์ใดพิมพ์หนึ่งมีอายุความเก่าแก่เท่าใด มันก็มีความจำเป็นที่เราจะต้องรู้จักสกุลศิลปะในพระพิมพ์นั้นๆ ก่อนอะไรอื่น จากนั้นก็ต้องศึกษาพิจารณาเนื้อหามวลสารหรือวัสดุใดๆ ที่นำมาสร้างพระพิมพ์นั้นๆ ว่ามีธรรมชาติความเก่าแก่ สอดคล้องกับประมาณอายุของสกุลศิลปะในพิมพ์พระนั้นหรือไม่ แล้วจึงหันกลับไปมองกรุแหล่งที่มาของพระพิมพ์ดังกล่าวว่าเป็นกรุเจดีย์สมัยใด? สมัยเดียวกันกับที่ได้ สร้างพระรึเปล่า หรือว่าเป็นพระพิมพ์ที่ถูกบรรจุเข้ากรุไว้ในยุคหลังที่อาจจะมีการบูรณปฏิสังขรณ์ ลักษณะและสภาพกรุเป็นอย่างไร? ใครเป็นผู้สร้าง? และมีวัตถุประสงค์การสร้างอย่างไร?

ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เอกสารสำคัญฉบับหนึ่งที่เขียนขึ้นในสมัยนั้นก็คือ ?ตำนานพระพิมพ์? เขียนโดย ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ หลายท่านก็เคยได้อ่านหลายเที่ยวแล้ว โดยเ?ฉพาะได้กล่าวถึงพระสกุลลำพูนที่มีพระพุทธเจ้าประทับนั่งอยู่ใต้ร่มโพธิพฤกษ์ ซึ่งมีผู้ขุดพบในบริเวณอุปจารวัดร้างเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะพระคง ที่ท่านได้ยินชาวบ้านเรียกกันว่า พระอยู่คง ตามความเชื่อแบบไสยศาสตร์ว่า อยู่ยงคงกระพันชาตรี หรือฟันแทงไม่เข้า และเมื่อได้สำรวจวัดร้างดังกล่าวแล้ว พบว่ามีแต่รากฐานแสดงว่าเก่าแก่ แต่ท่านเองไม่แสดงตนว่ารู้หรือไม่รู้ว่าเก่าเท่าใด
 


ข้อมูลดังกล่าวทำให้ทราบว่า พระคง เป็นพระพิมพ์ดินเผา ที่ขุดพบในบริเวณอุปจารวัดพระคงฤาษี ซึ่งตอนนั้นยังเป็น ?วัดร้าง? ไม่มีชื่อ เป็นวัดเก่า เพราะยังเหลือรากฐานพอให้เห็นโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมโบราณเท่านั้น แต่ไม่รู้ว่าเก่าแก่เท่าใด ต่อมาเพราะว่าพระคงโด่งดังขึ้นมาในวงการนักนิยมสะสมพระพิมพ์พระเครื่อง ก็คงจะมีการตั้งชื่อวัดนี้ขึ้นเป็น วัดพระคงฤาษี กลายเป็นเรื่องเล่าว่า มีฤาษีปรากฏขึ้นนาม พระคงฤาษี ทั้งที่เดิมพระคงที่ได้ชื่อนี้เป็นเพราะว่ามีพิมพ์ทรงใหญ่กว่าพระรอด สำเนียงเดิมที่เรียกพระพิมพ์นี้ก็คือ พระโข่ง หรือ พระโค่ง ไม่ใช่เพราะว่าชาวบ้านเขาจะรู้มาก่อนว่า พระคงฤาษีเป็นผู้สร้างพระพิมพ์นี้ เมื่อตรวจสอบตำนานพงศาวดารประมาณอย่างน้อย 4 เล่ม ได้แก่ ชินกาลมาลินีปกรณ์ มูลศาสนา? ตำนานจามเทวี และ จามเทวีวงศ์ ไม่ปรากฏฤาษีชื่อ พระคงฤาษี นอกจากเอกสารที่เพิ่งเขียนแจกตามวัดลักษณะเป็นเรื่องแต่งขึ้นอย่างน่าเกลียดเพราะไม่รัดกุม ว่าไปแล้วเท่ากับเป็นเรื่องของการหลอกลวง แม้แต่ในหนังสือตำนานพงศาวดารทั้ง 4 เล่มดังกล่าว ก็ไม่มีชื่อ พระคงฤาษี อาจเป็นเพราะว่าเป็นหนังสือที่แต่งขึ้นหลังพุทธศตวรรษที่ 21 ทุกเล่ม ดังนั้น พระวาสุเทพ กับ พระสุกกทนฺตฤาษี และฤาษีอื่นๆ 108 ฤาษี ที่ว่าบำเพ็ญตบะอยู่แถวๆ ดอยสุเทพตามตำนานกล่าวถึงจึงไม่มีตัวตน ในบริเวณวัดดอยสุเทพเองก็ไม่มีโบราณสถานและวัตถุเก่าแก่ถึงสมัยทวาราวดีแม้แต่ชิ้นเดียว และวัดนี้ก็มีหลักฐานเป็นเอกสารทางประวัติศาสตร์ระบุชัดเจนว่า วัดดอยสุเทพสร้างขึ้นในรัชสมัย พระเจ้ากือนา (ไม่ใช่ถือนา) เรื่องของเรื่องก็ยิ่งทำให้เราเกิดรู้สึกเหมือนถูกตบหน้าโดยไม่รู้สึกตัวมาก่อน

ที่ร้ายแรงก็คือ ตำนานกล่าวเหมือนๆ กันว่า พระนางจามเทวี ธิดาเจ้ากรุงละโว้มีพระสวามีปกครองเมืองราม (อโยธยา) ได้เสด็จขึ้นมาปกครองเมืองหริภุญไชยตามคำทูลเชิญของฤาษี ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 12-13 แต่เมื่อตรวจสอบประวัติศาสตร์โบราณคดี อโยธยาเป็นเพียงชุมชนเล็กๆ ในสมัยกรุงละโว้ เป็นเมืองหลวงของแคว้นทวาราวดี ยังนับถือพระพุทธศาสนาฝ่ายหินยานโบราณ ที่เรียกว่า ?เถรวาท? ต่อมาระหว่างพุทธศตวรรษที่ 16 อาณาจักรกัมพูชาโบราณขยายอิทธิพลเข้าผนวกกรุงละโว้เข้าไว้ในอำนาจอโยธยา หรือเมืองราม ของพระสวามีพระนางจามเทวี จึงเริ่มเปลี่ยนสภาพเป็นบ้านเป็นเมืองที่ขยายใหญ่ขึ้นประมาณระหว่างพุทธศตวรรษที่ 17 แต่ศูนย์การเผยแพร่วัฒนธรรมขอมยังคงอยู่ ณ กรุงละโว้ที่เริ่มเสื่อมประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 17 หรือต้นพุทธศตวรรษที่ 18 เป็นอย่างช้า อโยธยากลายเป็นราชธานี จึงเป็นไปไม่ได้ที่พระสวามีของพระนางจามเทวีจะเป็นกษัตริย์ในช่วงระหว่างพุทธศตวรรษที่ 12-13 ต้องมีอะไรคลาดเคลื่อนแน่ๆ โดยเฉพาะเกี่ยวกับช่วงระยะเวลา หรือไม่เรื่องราวของพระนางจามเทวีก็คงจะเป็นเรื่องแต่งขึ้น เช่น อย่างที่นักวิชาการรุ่นใหม่สันนิษฐาน

ในความรู้สึกของคนเฒ่าคนแก่รุ่นคุณปู่คุณทวดของผู้เขียน พระคง หรือพระลำพูน เป็นพระพิมพ์ดินเผา ซึ่งเป็นหนึ่งในพระพิมพ์พระเครื่องที่พระนางจามเทวีได้สร้างเข้าบรรจุไว้ใน ?จตุรพุทธปราการ? พร้อมกับพระพิมพ์พระเครื่องอื่นๆ อีกหลายพิมพ์นั้น ก็คงจะเป็นเรื่องของตำนานที่แต่งขึ้น เพื่อเพิ่มความศรัทธาในพระพุทธศาสนา เพราะอยู่ในช่วงการเผยแพร่พระพุทธศาสนา จตุรพุทธปราการที่ตีความกันว่า แปลว่า กำแพง 4 ด้าน หรือในสมัยเราก็คงจะเท่ากับวัด 4 มุมเมืองละกระมัง เพราะว่ากันมาแล้วว่า หมายถึง วัดดอนแก้ว วัดพระคง วัดมหาวัน วัดกู่เหล็ก ตอนหลังยังมีผู้ค้นพบว่ามีอีกวัดหนึ่ง แต่ก็ไม่มีใครเปลี่ยนเป็น ?เบ็ญจพุทธปราการ? หลักการเดิมในการสร้าง พระพิมพ์พระเครื่องของเดียนั้น นอกจากจะสร้างไว้เพื่อเผยแพร่ศาสนา หรือไว้เป็นที่ระลึกถึงพระพุทธเจ้าแล้ว ยังได้สร้างไว้ในจุดประสงค์ที่เป็น ?พระอุทเทสิกะเจดีย์? หรือเป็นสิ่งอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้วายชนม์ แต่ก็อาจจะนับได้ว่า การสร้างพระพิมพ์จตุรพุทธปราการเพื่อปกป้องพระศาสนาของพระนางจามเทวี ว่าไปแล้วก็เข้าข่ายทั้งเพื่อเผยแพร่ศรัทธาในพุทธศาสนาและเมื่อมีคนศรัทธามากๆ ก็เท่ากับ ?ปกป้องพระพุทธศาสนา? ตามความหมายที่ว่า ?จตุรพุทธปราการ? และจากประวัติการขุดค้นหาสมบัติโบราณและพระเครื่องในบริเวณวัดมหาวันหลายปีมาแล้ว มีบันทึกไว้ว่า พบหม้อดินบรรจุเถ้ากระดูกมนุษย์ด้วย ในหม้อนั้นยังมีแผ่นเงินแผ่นทองฉลุ และดุนนูน เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องสวยงามมาก ผู้เขียนก็มีวาสนาได้เห็นแล้ว นอกจากนั้นก็ยังพบ พระรอด พระคง พิมพ์เดียวกันกับที่พบบริเวณอุปจารวัดพระคงฤาษี และใต้ฐานชุกชีของวัดดอนแก้วด้วย รวมทั้งพระรอดหลวง ซึ่งก็คือ พระคงอีกพิมพ์หนึ่งนั่นเอง แต่พบจำนวนไม่มากนัก และก็มี พระเลี่ยง พระกวาง พระกล้วย พระละโ




 

 

PHRAROD WAT MAHAWAN LAMPHUN |ADDRESS
236/2 MU 5 TAMBOLE YANGONG NOENG AMPHURE SARAPHI CHIANGMAI THAILAND
Tel: 66-061-7919125,66-093-3361995  whatapp:0933361995
http://www.phrarod.com/   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
พระรอดกรุวัดมหาวัน ลำพูน โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-061-7919125,66-093-3361995  whatapp:0933361995
http://www.phrarod.com/   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
Copyright © 2019 Phrarod wat mahawan lamphun province Website Terms of Use   |   Privacy Statement Find us on Youtube Facebook